วิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (c)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ภาษาซี c programming

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ภาษาซี (c)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ทางคณิตศาสตร์นับได้ว่าเป็นการใช้งานบ่อยครั้งมาก ๆ ก่อนที่จะเริ่มเขียนคำสั่ง เราจำเป็นต้องรู้สัญลักษณ์ของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ของภาษาซี มีดังนี้

  • เครื่องหมาย + 
  • เครื่องหมาย –
  • เครื่องหมายคูณ *
  • เครื่องหมายหาร /
  • เครื่องหมายหารเอาเฉพาะเศษ % 

ตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ภาษาซี (c)

#include <stdio.h> 
main()
{
  int a = 2; 
  int b = 5;
  int c = 10;
  printf ("%d\n",a+b); 
  printf ("%d\n",a-b);
  printf ("%d\n",a*c);
  printf ("%d\n",c/b);
  printf ("%d\n",c%b);
}

ผลลัพธ์ที่ได้คือ

7
-3
20
2
0


ตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ภาษาซี (c)

กรณีที่ตัวแปรเป็นชนิดข้อมูลประเภทเดียวกันเราสามารถ เขียนตัวแปรต่อกันในบรรทัดเดียวกันได้เลยเช่น

#include <stdio.h> 
main()
{
  int a = 2,b = 5,c = 10; 
  printf ("%d\n",a+b); 
  printf ("%d\n",a-b);
  printf ("%d\n",a*c);
  printf ("%d\n",c/b);
  printf ("%d\n",c%b);
}

ผลลัพธ์ที่ได้คือ

7
-3
20
2
0


ตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ภาษาซี (c)

#include <stdio.h> 
main()
{
  int a = 2; 
  int b = 5;
  int c = 10;
  int d = a+b;
  int e = a-b;
  int f = a*b;
  int g = a/b;
  int h = a%b;
  printf ("%d\n",d); 
  printf ("%d\n",e);
  printf ("%d\n",f);
  printf ("%d\n",g);
  printf ("%d\n",h);
}

ผลลัพธ์ที่ได้

7
-3
10
0
2

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *