คำสั่งแสดงผลในโปรแกรมภาษาไพทอน จะใช้คำสั่ง print
คำสั่ง print ()
คำสั่ง print () เป็นคำสั่งที่ทำหน้าที่ในการแสดงสิ่งที่อยู่ข้างใน ( ) ให้แสดงออกมา
- ในกรณีที่หากต้งการให้แสดง ข้อความ เราจะต้องใส่ ” ” เข้าไปข้างในวงเว็บ และจะมีข้อความอยู่ตรงกลาง เช่น print (“wuttichai”)
- ในกรณีที่ต้องการดึงค่าตัวแปรมาแสดงผล เราไม่จำเป็นต้องใส่ ” ” ข้างในวงเล็บ สามารถใส่ตัวแปรในวงเล็บได้เลย เช่น print (a)
ตัวอย่างโค้ดคำสั่ง print
a = 20 // กำหนดตัวแปร a มีค่าเท่ากับ 20
print ("wuttichai") //สั่งให้ชื่อ wuttichai แสดง สังเกตหากจะให้แสดงข้อความจะใส่ " " ลงไปด้วย
print (a) //สั่งให้แสดงค่าตัวแปร a สังเกตได้ว่าจะไม่มีการใส่ " " ลงไปข้างในวงเล็บ
ผลที่ได้จากการรันโปรแกรมคือ a = 20
print (“wuttichai”)
print (a)
// หมายความว่าการคอมเมนต์ ซึ่งไม่มีผลต่อการรันโปรแกรม
การคอมเมนต์ในภาษาไพทอนมี 2 แบบ
- การคอมเมนต์แบบบรรทัดเดียวจะใช้ //
- การคอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะ “”” และ “”” เรียกเครืองหมานนี้ว่า Double quotes 3 ตัว
ตัวอย่างเช่น
a = 20 print ("wuttichai") print (a) """เขียนคอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัด เพื่อเป็นการเตือนความจำของเราเอง หรือเป็นการเขียนคำอธิบายว่าคำสั่งนี้ใช้ทำอะไร"""